ความคิดเห็นที่ 4
คงจะนาบมดไปด้วยความขัดเคือง
ควรคิดแก้ไขเมื่อต้องเจอเหตุแบบนี้อีกจะทำเข่นไร จึงจะหลีกเลี่ยงการทำบาปได้
เช่นสะบัดผ้าให้มดหลุดไป เอาผ้านุ่มๆ มาปัดให้มดออกไป
ใช้แป้งฝุ่นหอมโรยเพื่อป้องกันไม่ให้มดเข้ามาในที่ ที่เราไม่ต้องการให้มา น้ำมันตะไคร้หอมก็ใช้กันได้ดี
ล้างบาปคงไม่มี มีแต่ การชะระบาปในดวงจิต ก็ลองทำตามนี้... ก๊อบมาจาก http://72.14.207.104/search?q=cache:DyUacku9elwJ:www.watphrabuddhabat.com/th/buddhist/ovatha.html+%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B9%8C&hl=th&gl=th&ct=clnk&cd=1 สัพพะปาปัสสสะ อะกะระณัง, การไม่ทำบาปทั้งปวง, กุสะลัสสูปะสัมปะทา, การทำกุศให้ถึงพร้อม, สะจิตตะปะริโยทะปะนัง การชำระจิตของตนให้บริสุทธิ์ผ่องใส, เอตัง พุทธานะสาสะนัง, ธรรม ๓ อย่างนี้ เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย. ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา, ขันตี คือความอดกลั้น เป็นธรรมเครื่องเผากิเลสอย่างยิ่ง, นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา, ผู้รู้ทั้งหลาย กล่าวพระนิพพานว่าเป็นธรรมอันยิ่ง, นะ หิ ปัพพะชิโต ปะรูปะฆาตี, ผู้กำจัดสัตว์อื่นอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิตเลย, นะ สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต, ผู้ทำสัตว์อื่นให้ลำบากอยู่ ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะเลย. อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต, การไม่พูดร้าย, การไม่ทำร้าย, ปาติโมกเข จะ สังวะโร, การสำรวมในปาติโมกข์, มัตตัญญุตา จะ ภัตตัสมิง, ความเป็นผู้รู้ประมาณในการบริโภค, ปันตัญจะ สะยะนาสะนัง, การนอน การนั่ง ในที่อันสงัด, อะธิจิตเต จะ อาโยโค, ความหมั่นประกอบในการทำจิตให้ยิ่ง, เอตัง พุทธานะสาสะนัง. ธรรม ๖ อย่างนี้ เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย.
จากคุณ :
bergbaan
- [
7 พ.ค. 49 10:53:59
]
|
|
|